คำอธิบาย
ภาวะกระดูกบางหรือผุพรุน
ภาวะกระดูกบางหรือผุพรุนจากการเสื่อมสลายของมวลกระดูกทำให้ความหนาแน่นของกระดูกลดลง เสี่ยงต่อการหักหรือพิการได้ง่าย ตำแหน่งที่พบกระดูกหักได้บ่อย คือ กระดูกสันหลัง กระดูกข้อมือและกระดูกสะโพก อาจเกิดผลแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น หลังค่อม การหายใจไม่เต็มที่ เหนื่อยหอบ เอ็นอักเสบและข้อกระดูกเสื่อม เดินไม่ได้เป็นภาระต่อคนรอบข้าง การผ่าตัดต้องใช้อุปกรณ์ราคาแพง และมีอัตราการเสียชีวิตสูง
โดยปกติในวัยเด็กร่างกายจะมีขบวนการสร้างกระดูกมากกว่าการสลายจนมีการสะสมมวลกระดูกได้สูงสุด เมื่ออายุ 30 ปี หลังจากนั้นจะมีการเสื่อมสลายของกระดูกอย่างต่อเนื่องมากกว่าการสร้าง โดยเฉพาะในสตรีที่เข้าสู่ภาวะหมดประจำเดือนจะมีการสูญเสียมวลกระดูกอย่างรวดเร็วมากกว่าเพศชายถึง 2-3 เท่า
ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะกระดูกพรุน และพบแพทย์เพื่อประเมิน ป้องกันหรือรักษาให้กระดูกมีสุขภาพที่ดี
รายการตรวจ
|
BONE CARE 1
|
BONE CARE 2
|
---|---|---|
ตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
Physical Examination
|
|
|
ตรวจระดับวิตามินดี
Vitamin D Total
|
|
|
ตรวจระดับแคลเซียม
Calcium
|
|
|
ตรวจมวลกระดูกสันหลังและสะโพก
Bone density 2 Parts (Lumbar, hip)
|
|
|
2,800
|
1,600
|
รีวิว
ยังไม่มีบทวิจารณ์